บทวิเคราะห์
จากการศึกษาได้ทราบว่า เมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันประเทศไทยของเราได้ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในรูปแบบต่างๆที่เป็นประโยชน์หลายอย่าง เช่น การประชุมทางไกล ใช้สืบค้นข้อมูลด้วยระบบ ITF และการส่งสัญญาณด้วยระบบ UHF สูงและต่ำ มีการใช้ E-Mail อย่างแพร่หลาย และจนถึงปัจจุบันนี้เทคโนโลยีที่เรากลัวว่าจะไม่สามารถใช้ได้และใช้เป็นนั้น ปัจจุบันนี้คนไทยได้พัฒนาและตามทันเทคโนโลยีเหล่านี้แล้ว นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งเพื่อที่จะทำให้ประเทศของเราก้าวหน้าและทัดเทียมชาติอื่นในโลกนี้ได้อย่างไม่อายใคร บทวิเคราะห์
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
พรบ.2542 หมวด9 เรื่อง เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา________________
มาตรา ๖๓
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจำเป็นมาตรา๖๔
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการ ผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
มาตรา ๖๕
ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา ๖๖
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใน โอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา ๖๗
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่า และเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย
มาตรา ๖๘
ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุน ของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำไรที่ได้จากการดำเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ โทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่า บริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเพื่อการพัฒนาคนและสังคม หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๖๙
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนส่งเสริมและ ประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิต และการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๓
รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำและโครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำหรับการศึกษาใน ระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจำเป็นมาตรา๖๔
รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการ ผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
มาตรา ๖๕
ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา ๖๖
ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ใน โอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
มาตรา ๖๗
รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่า และเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย
มาตรา ๖๘
ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุน ของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำไรที่ได้จากการดำเนินกิจการด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ โทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรประชาชน รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่า บริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเพื่อการพัฒนาคนและสังคม หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อการผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษา ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๖๙
รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนส่งเสริมและ ประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิต และการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
บทวิเคราะห์ พรบ. หมวด9
กระผมมีความคิดว่า.........
พรบ.การศึกษา พ.ศ.2542 นี้ มีประโยชน์ต่อผู้ที่ใช้เทคดนโลยีสำหรับการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะกฏหมายในหมวดฉบับนี้ได้ให้สิทธิและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งผู้เรียนทั้งในระบบและนอกระบบสามารถใช้เทคดนโลยีได้อ่ยามีประสิทธิภาพและพัฒนาให้ถึงขั้นขีดสุดเพื่อให้มีความรู้เพียงพอในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมีทุนสนับสนุนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอีกด้วย
พรบ.การศึกษา พ.ศ.2542 นี้ มีประโยชน์ต่อผู้ที่ใช้เทคดนโลยีสำหรับการศึกษาเป็นอย่างมาก เพราะกฏหมายในหมวดฉบับนี้ได้ให้สิทธิและการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องในการใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งผู้เรียนทั้งในระบบและนอกระบบสามารถใช้เทคดนโลยีได้อ่ยามีประสิทธิภาพและพัฒนาให้ถึงขั้นขีดสุดเพื่อให้มีความรู้เพียงพอในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และมีทุนสนับสนุนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนอีกด้วย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)